ทำความรู้จัก “สมุนไพรพลูคาว”
พลูคาว – ชื่ออื่นๆ คาวตอง(ลำปาง, อุดร) คาวทอง (มุกดาหาร, อุตรดิตถ์) ผักก้านตอง (แม่ฮ่องสอน) ผักเข้าตอง, ผักคาวตอง, ผักคาวปลา (ภาคเหนือ) พลูคาว (ภาคกลาง)
พลูคาว – ชื่ออื่นๆ คาวตอง(ลำปาง, อุดร) คาวทอง (มุกดาหาร, อุตรดิตถ์) ผักก้านตอง (แม่ฮ่องสอน) ผักเข้าตอง, ผักคาวตอง, ผักคาวปลา (ภาคเหนือ) พลูคาว (ภาคกลาง)
ผลิตภัณฑ์ โดกุดามิ เป็นการผสมผสานระหว่างสมุนไพรไทยพลูคาว + นวัตกรรมวิทยาศาสตร์ ด้านไบโอเทคโนโลยี่ (จุลินทรีย์ Probioti ) และพันธุวิศวกรรม เป็นการร่วมมือกันของบริษัทโดกุดามิ มหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศ และหน่วยงานสนับสนุนงานวิจัย (สกว.)
พลูคาว มีการนำมาใช้เพื่อบำบัดโรคตั้งแต่สมัยโบราณ เห็นได้จากในตำรายาไทยโบราณ มีการเอ่ยถึงการใช้ใบพลูคาวแก้กามโรค หนองใน เข้าข้อออกดอก เป็นแผลเปื่อยพุพอง ทำให้น้ำเหลืองแห้ง แก้โรคผิวหนัง แก้พิษแมลงป่อง พอกฝี ซึ่งชาวเหนือเชื่อว่าใบขับพยาธิได้ ส่วนในตำรายาจีน พลูคาวทั้งต้นมีสรรพคุณขับปัสสาวะ รักษาอาการอักเสบในทางเดินปัสสาวะ
พลูคาว (Houttuynia Cordata) หรือคาวตอง เป็นสมุนไพร ไทยที่พบมากในแถบภาคเหนือของไทย จัดเป็นพืชตระกูลเดียวกับพลู ชอบความชื้นและอากาศเย็น ชอบเจริญเติบโตในที่มีร่มเงา เป็นพืช ขนาดเล็ก สูง 15-50 ซม. เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปทรงคล้ายรูป หัวใจกว้าง โคนใบเว้า
พลูคาวมีชื่อวิทยาศาสตร์ ว่า Houttuynia cordata Thunb. และชื่อพื้นเมืองอื่นๆได้แก่ : คาวตอง, คาวทอง, ก้านตอง, เข้าตอง, คาวตอง, คาวปลา เป็นพันธุ์ไม้ที่พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชีย
โรคที่เกิดจากวรัสแบ่งเป็นการติดเชื้อได้ 3 แบบ คือ
1. โรคที่เกิดจากไวรัส ที่มีอาการเฉียบพลัน เช่น ไข้ทรพิษ, หัด หัดเยอรมัน, หวัด, ตาอักเสบ เป็นต้น
2. โรคที่เกิดจากไวรัส ที่มีอาการเป็นๆ หายๆ เช่น เริม, งูสวัด เป็นต้น
“พลูคาว” มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Houttuynia cordata Thunb เป็นพืชสมุนไพรประจำถิ่นที่พบมากในแถบภาคเหนือของไทย และยังพบในบริเวณเทือกเขาหิมาลัย อินเดีย เรื่อยมาจนถึงจีน เวียดนาม ลาว เกาหลี และญี่ปุ่น ซึ่งถือเป็นพืชตระกูลเดียวกับพลู
พลูคาว เป็นผักพื้นบ้านทางภาคเหนือและภาคอีสาน ปลูกได้ดีในบางพื้นที่ที่มีภูเขาและความชุ่มชื้นระดับหนึ่ง หลายคนอาจจะไม่ค่อยชอบกลิ่น รสคาว ขื่น เผ็ด ของพลูคาวเท่าใดนัก แม้ว่าหมอยาหลายท่านจะบอกว่า พลูคาวกินกับแจ่วส้มมะเขือเครือโดยเอาผักคาวทำคำใหญ่ๆ
พลูคาว เป็นพันธุ์ไม้ล้มลุก พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่แถบเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงเวียดนาม รวมทั้งไทยและญี่ปุ่น พลูคาวเป็นพันธุ์ไม้ที่รู้จักกันดีของทางภาคเหนือของไทย เนื่องจากลักษณะต้นที่มีกลิ่นคาวจึงมีชื่อเรียกกันในท้องถิ่นว่าผักคาวตองหรือพลูคาว
พลูคาว เป็นพันธุ์ไม้ล้มลุก พบได้ทั่วไปในทวีปเอเชียตั้งแต่แถบเทือกเขาหิมาลัยไปจนถึงเวียดนาม รวมทั้งไทยและญี่ปุ่น พลูคาวเป็นพันธุ์ไม้ที่รู้จักกันดีของทางภาคเหนือของไทย เนื่องจากลักษณะต้นที่มีกลิ่นคาวจึงมีชื่อเรียกกันในท้องถิ่นว่าผักคาวตองหรือพลูคาว
ลาบของคนทางเหนือเป็นลาบเนื้อดิบจะเป็นเนื้อหมู วัว ควาย ก็ได้ ใส่เลือดสดๆ ไม่เหมือนลาบอีสาน การทำลาบของชาวเหนือ เช่นลาบหมู เขาจะเอาเนื้อหมูมาสับละเอียดจนเนื้อเหนียวติดมีด คลุกกับเครื่องเทศสมุนไพร สัก 32 ชนิด จากนั้นใส่เลือดสดลงไปแล้วปรุงรส คนทางเหนือเชื่อว่า
ความดันโลหิตสูง หมายถึง แรงดันของกระแสโลหิตที่กระทบต่อผนังหลอดเลือดแดง อันเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ
*อาการ ความดันโลหิตตัวบนมากกว่า 150 ตัวล่างมาก 90 หนักหัว เมื่อยไหล่ เจ็บคอ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ
คณะนักวิจัยยังได้ทราบข้อเท็จจริงว่า สีแดงที่อยู่ใต้ใบพลูคาวเป็นตัวชี้วัดว่ามีเภสัชสาร ซึ่งเป็นสารเฮลตีแบคทีเรีย มีจุลินทรีย์และแลคโตบาซิลลัสสายพันธุ์หนึ่ง ที่สามารถกระตุ้นภูมิคุ้มกันในร่างกายของมนุษย์ให้ทำงานได้ดีขึ้น ทั้งยังสามารถไปยับยั้งการเจริญเติบโตและต้านทานเนื้องอก